วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ความรู้อุตุนิยมวิทยา



นิยาม "พายุหมุนเขตร้อน" (TROPICAL CYCLONE)
                พายุหมุนเขตร้อน คือคำทั่วๆไปที่ใช้สำหรับเรียกพายุหมุนที่เกิดเหนือทะเลหรือมหาสมุทรในเขตร้อนบริเวณที่พายุหมุนปกคลุมแคบกว่าบริเวณพายุหมุนในเขตอบอุ่น       พายุดังกล่าวเมื่ออยู่ในสภาพที่เจริญเติบโตเต็มที่จะเป็นพายุที่มีความรุนแรงที่สุดชนิดหนึ่งในบรรดาพายุที่เกิดขึ้นในโลก มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่ใหญ่นักประมาณตั้งแต่ 100 กิโลเมตรขึ้นไป เกิดขึ้นพร้อมกับลมที่พัดรุนแรงมาก มีลมพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางในทางทวนเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือ ส่วนซีกโลกใต้ลมจะพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางในทางเดียวกับเข็มนาฬิกา ยิ่งใกล้ศูนย์กลางลมจะหมุนเกือบเป็นวงกลมและมีความเร็วสูงที่สุดบางครั้งมีความเร็วลมเกินกว่า 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (175 นอตความกดอากาศต่ำสุดที่บริเวณศูนย์กลางบางครั้งต่ำกว่า 900 เฮกโตปาสคาล (hPa) มีลักษณะอากาศร้ายเกิดขึ้น มีฝนตกหนักมาก บางครั้งมีพายุฟ้าคะนอง  ฝนและเมฆมีลักษณะไม่เหมือนกันนักในแต่ละลูก ส่วนใหญ่เป็นแนวโค้งหมุนเข้าหาศูนย์กลาง มีเมฆคิวมูลัส และคิวมูโลนิบัสที่มีฝนอยู่ด้วย  เกิดคลื่นสูงใหญ่ในทะเลและน้ำขึ้นสูง ตรงบริเวณศูนย์กลางพายุมีลักษณะคล้ายกับตาเป็นวงกลมมองเห็นได้จากภาพถ่ายดาวเทียมเรียกว่า "ตาพายุ"  เส้นผ่าศูนย์กลางตาพายุเพียงแค่เป็นสิบๆกิโลเมตรเท่านั้น (ประมาณ 15-60 กิโลเมตรภายในตาพายุนี้อากาศแจ่มใส มีเมฆบ้างเล็กน้อย ลมพัดอ่อน
                พายุหมุนเขตร้อนมีชื่อเรียกต่างกันตามบริเวณที่เกิดขึ้น เช่น ในอ่าวเบงกอล และในมหาสมุทรอินเดียเรียกว่า "ไซโคลน" (CYCLONE) ในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ทะเลแคริบเบียน อ่าวเม็กซิโกและทางด้านทะเลฝั่งตะวันตกของเม็กซิโกเรียกว่า "เฮอร์ริเคน" (HURRICANE) ในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านตะวันตกกับมหาสมุทรแปซิฟิกใต้และทะเลจีนใต้เรียกว่า "ไต้ฝุ่น" (TYPHOON)
                ตามข้อตกลงระหว่างประเทศ ได้แบ่งพายุหมุนเขตร้อนตามความรุนแรงของพายุดังนี้
         1.  พายุดีเปรสชั่น (DEPRESSION) มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางไม่ถึง 34 นอต
               (63 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
         2 พายุโซนร้อน (TROPICAL STORM) มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลาง 34 นอต
               (63 กิโลเมตรต่อชั่วโมงขึ้นไปแต่ไม่ถึง 64 นอต (118 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
         3.  ไต้ฝุ่นหรือเฮอร์ริเคน (TYPHOON OR HURRICANE)   มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลาง
              ตั้งแต่  64 นอตขึ้นไป (118 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่ใช้ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านตะวันตกและทะเลจีนใต้
Column 1
Column 2
Column 3
Column 4
Column 5
DAMREY (ดอมเรย)
KONG-REY (กองเรย)
NAKRI (นากรี)
KROVANH (กรอวาญ)
SARIKA (สาริกา)
HAIKUI (ไห่คุ้ย)
YUTU (ยู่ทู่)
FENGSHEN (ฟงเฉิน)
DUJUAN (ตู้เจี้ยน)
HAIMA (ไหหม่า)
KIROGI (ไคโรจิ)
TORAJI (โทราจิ)
KALMAEGI (คัลเมจิ)
MUJIGAE (มูจีแก)
MEARI (มิอะริ)
KAI-TAK (ไคตั๊ก)
MAN-YI (มานหยี่)
FUNG-WONG (ฟองวอง)
CHOI-WAN (ฉอยหวั่น)
MA-ON (หมาง้อน)
TEMBIN (เทมบิง)
USAGI (อุซางิ)
KAMMURI (คัมมุริ)
KOPPU (คอบปุ)
TOKAGE (โทะคาเงะ)
BOLAVEN (โบลาเวน)
PABUK (ปาบึก)
PHANFONE (พันฝน)
CHAMPI (จำปี)
NOCK-TEN (นกเตน)
 SANBA (ซันปา)
WUTIP (หวู่ติ๊บ)
VONGFONG (หว่องฟง)
IN-FA(อินฟา)
MUIFA (หมุ่ยฟ้า)
JELAWAT (เจอลาวัต)
SEPAT (เซอปัต)
NURI (นูรี)
MELOR (เมอโลร์)
MERBOK (เมอร์บุก)
EWINIAR (เอวิเนียร์)
FITOW (ฟิโทว์)
SINLAKU (ซินลากอ)
NEPARTAK (เนพาร์ตัก)
NANMADOL (นันมาดอล)
MALIKSI (มาลิกซี)
DANAS (ดานัส)
HAGUPIT (ฮากุปิต)
LUPIT (ลูปีต)
TALAS (ตาลัส)
GAEMI (แกมี)
NARI (นารี)
JANGMI (ชังมี)
MIRINAE (มิรีแน)
NORU (โนรู)
PRAPIROON (พระพิรุณ)
WIPHA (วิภา)
MEKKHALA (เมขลา)
NIDA (นิดา)
KULAP (กุหลาบ)
MARIA (มาเรีย)
FRANCISCO (ฟรานซิสโก)
HIGOS (ฮีโกส)
OMAIS (โอไมส์)
ROKE (โรคี)
SON TINH (เซินตินห์)
LEKIMA (เลกีมา)
BAVI (บาหวี่)
CONSON (โกนเซิน)
SONCA (เซินกา)
BOPHA (โบพา)
KROSA (กรอซา)
MAYSAK (ไม้สัก)
CHANTHU (จันทู)
NESAT (เนสาด)
WUKONG (หวู่คง)
HAIYAN (ไห่เยี่ยน)
HAISHEN (ไห่เฉิน)
DIANMU (เตี้ยนหมู่)
HAITANG (ไห่ถาง)
SONAMU (โซนามุ)
PODUL (โพดอล)
NOUL (นูล)
MINDULLE (มินดอนเล)
NALGAE (นาลแก)
SHANSHAN (ซานซาน)
LINGLING (เหล่งเหลง)
DOLPHIN (ดอลฟิน)
LIONROCK (ไลออนร็อก)
BANYAN (บันยัน)
YAGI (ยางิ)
KAJIKI (คะจิกิ)
KUJIRA (คุจิระ)
KOMPASU (คอมปาซุ)
WASHI (วาชิ)
LEEPI   (หลี่ผี)
FAXAI (ฟ้าใส)
CHAN-HOM (จันหอม)
NAMTHEUN (น้ำเทิน)
PAKHAR (ปาข่า)
BEBINCA (เบบินคา)
PEIPAH (เพผ่า)
LINFA (หลิ่นฟ้า)
MALOU (หม่าโหล)
SANVU (ซันหวู่)
RUMBIA (รุมเบีย)
TAPAH (ตาปาห์)
NANGKA (นังกา)
MERANTI (เมอรันตี)
MAWAR (มาวาร์)
SOULIK (ซูลิก)
MITAG (มิแทก)
SOUDELOR (เซาเดโลร์)
FANAPI (ฟานาปี)
GUCHOL (กูโชล)
CIMARON (ซิมารอน)
HAGIBIS (ฮากิบิส)
MOLAVE (โมลาเว)
MALAKAS (มาลากัส)
TALIM (ตาลิม)
JEBI (เชบี)
NEOGURI (นิวกูรี)
GONI (โกนี)
MEGI (เมกี)
DOKSURI (ด็อกซูหริ)
MANGKHUT (มังคุด)
RAMMASUN (รามสูร)
ATSANI (อัสนี)
CHABA (ชบา)
KHANUN (ขนุน)
UTOR (อูตอร์)
MATMO (แมตโม)
ETAU (เอตาว)
AERE (แอรี)
VICENTE (วีเซนเต)
TRAMI (จ่ามี)
 HALONG (หะลอง)
VAMCO (หว่ามก๋อ)
SONGDA (ซงด่า)
SAOLA (ซาวลา)
หมายเหตุ  :   1. เริ่มใช้ตั้งแต่ กุมภาพันธ์ 255(จากการประชุมคณะกรรมการพายุไต้ฝุ่น ครั้งที่ 43 วันที่ 17- 22 มกราคม 2554
                         ณ เกาะเจจู สาธารณรัฐเกาหลี)
                     2การตั้งชื่อใช้หมุนเวียนกันไปตามลำดับตัวอักษรและลำดับ column  เมื่อถึงชื่อสุดท้ายคือ SAOLA   จะเริ่มต้นที่
                         column 1 ใหม่คือ DAMREY (ตัวอักษร ไม่ใช้ตั้งชื่อ)


รายชื่อพายุไซโคลนที่ใช้ในบริเวณอ่าวเบงกอลและทะเลอาหรับ
                         (Tropical Cyclone Names in the Bay of Bengal and the Arabian Sea)
Column 1
Column 2
Column 3
Column 4
Column 5
Column 6
Column 7
Column 8
Onil
Ogni
Nisha
Giri
Helen
Chapala
Ockhi
Fani
Agni
Akash
Bijli
Jal
Lehar
Megh
Sagar
Vayu
Hibaru
Gonu
Aila
Keila
Madi
Vaali
Baazu
Hikaa
Pyarr
Yemyin
Phyan
Thane
Nanauk
Kyant
Daye
Kyarr
Baaz
Sidr
Ward
Murjan
Hudhud
Nada
Luban
Maha
Fanoos
Nargis
Laila
Nilam
Nilofar
Vardah
Titli
Bulbul
Mala
Abe
Bandu
Mahasen
Priya
Sama
Das
Soba
Mukda
Khai Muk
Phet
Phailin
Komen
Mora
Phethai
Amphan

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น